Powered By Blogger

Tuesday, 28 February 2012

 เรือบด












เรือบด ชนิดนี้ถือว่าพายยากมากค่ะ หัวท้ายจะแหลม
ลักษณะคล้ายเรือคยัค (เป็นไงเอ่ย)

ทำด้วยไม้ นั่งได้คนเดียว สองคนก็ได้ถ้าตัวเล็ก
น้ำหนักเบาแต่โอกาสเสี่ยงล่มสูงมากกกกก
จากการที่หัวท้ายแหลมนี่เอง
ตามหลักพลศาสตร์ ทำให้เคลื่อนตัวแหวกสายน้ำได้รวดเร็ว



 เรือบด


เรือบดที่บ้านลักษณะแบบในภาพแต่ที่บ้าน หัวเรือจะกลม ๆ กว่านี้ค่ะ
ก๋งทำเองกับมือค่ะ ก๋งชอบทำงานไม้ค่ะ
หาภาพยากเหมือนกันนะคะ ถ้ากลับไปบ้านจะถ่ายรูปมาให้ชมค่ะ

เรือสำปั้น ชนิดนี้เป็นที่นิยมของเหล่าแม่บ้าน คุณย่าคุณยาย
แม่ค้าแม่ขาย เพราะจุของได้มาก ลำเรือกว้าง นั่งได้หลายคน

แต่พายยากนะ ขอบอก เพราะท้องเรือจะกลม ๆ โคลงเคลงง่าย
ฉันพายคว่ำ พายคว่ำมาหลายครั้งแล้ว

ด้วยว่าเป็นเรือแม่บ้าน การพายก็ต้องช้า ๆ เนิบ ๆ พายงัด ๆ เป็นจังหวะสม่ำเสมอ
ถ้าจ้ำพรวด ๆ แบบที่ฉันพาย ก็จะคว่ำซะก่อน
ลำนี้ก็ยกให้แม่ไปค่ะ วัยรุ่นอย่างเราต้องเรืออีแปะเท่านั้น อิอิ



 
ผู้ชายพายเรือสำปั้น



เรือมาด เรือชนิดนี้เป็นเรือสำหรับขนข้าว หรือ ของเยอะ ๆ เพราะลำใหญ่
จุของได้มาก ลำเรือกว้างโอ่โถง
มักจะติดตั้งเครื่องเรือไว้ท้ายลำ หรืออาจจะติดตั้งแจวเอาไว้ท้ายลำค่ะ



 เรือมาด

เรือมาดในรูปนี่ยังลำเล็กค่ะ มีลำใหญ่กว่านี้มากค่ะ

เรือกะป๊าบ ลำนี้ได้มาจากอยุธยา แถวบ้านเรียกเรือกะป๊าบ
แต่ไปหาภาพเค้าเรียกกัน เรือป๊าบ เฉย ๆ ลักษณะเป็นเรืออ้วน ๆ ป่องตรงกลาง
พายง่ายเพราะท้องเรือจะแบนๆ ส่วนใหญ่เค้าจะเอาไว้พายทอดแหหาปลาค่ะ



 เรือกะป๊าบจำลอง



ส่วนวิธีการพายเรือ ต้องพายเป็นจังหวะเนิบ ๆ งัดเบา ๆ
ถ้างัดแรง เรือจะล่มง่าย เวลาจะเปลี่ยนทิศทางเรือจะใช้ วิธีงัด
เช่น ถ้าพายด้านขวา เวลางัด หัวเรือก็หันไปทางขวา

ถ้าต้องการเข้าไป ใช้วิธีที่เรียกว่า วาดเรือ
คือ ใช้ไม้พายวาดน้ำเข้าหาตัว
โห อธิบายยากนะคะเนี่ย วันหลังสงสัยต้องทำวีดีโอคลิปประกอบด้วยซะแล้ว

ปล. หวังว่าคุณเมย์คงได้ความรู้มากมายนะคะ ฮ่าๆๆ
ขอให้สมหวังอย่างแรงค่ะ อิอิ
ฟังเพลงประกอบการพายเรือ เพลงเก่าแต่ทรงคุณค่าค่ะ สองเพลง สองบรรยากาศค่ะ

Thursday, 23 February 2012

Literary Periods & History Timeline

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย

          ประวัติศาสตร์ไทยเป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์นักประวัติศาสตร์ได้กำหนดเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ขึ้นมา  เช่น  กำหนดเวลาเป็นปีศักราช  หรือกำหนดเป็นสหัสวรรษ  ศตวรรษ  และทศวรรษ
          ในการกำหนดยุคสมัย  นักประวัติศาสตร์ได้ถือเอาลักษณะเด่นของเหตุการณ์เป็นเกณฑ์เพื่อให้สามารถเข้าใจและจดจำยุคสมัยนั้น ๆ ได้  ประวัติศาสตร์จึงมีความสำคัญ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจง่ายและตรงกัน

          1.  ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
                    ในการศึกษาประวัติศาสตร์จะมีความเกี่ยวข้องกับเวลา  เพราะประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์  โดยศึกษาว่ามนุษย์มีวิถีชีวิตอย่างไร  มีความคิดอะไร  มีผลงานใดบ้าง  และการสร้างสรรค์ผลงานนั้นได้มีผลกระทบต่อพัฒนาการของมนุษย์ในอดีตและปัจจุบันอย่างไร  จึงอาจกล่าวได้ว่าการดำเนินชีวิตด้านต่าง ๆ ของมนุษย์อยู่ภายใต้เงื่อนไขของเวลามาโดยตลอด  แต่การที่มนุษย์สามารถสื่อสารกันได้เรื่องเวลาก็เพราะมนุษย์มีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับระบบการบอกเวลาตรงกัน
                    ในสมัยประวัติศาสตร์ไทยที่มีระยะเวลาหลายร้อยปี  และเกิดเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมากมาย  นักประวัติศาสตร์จึงได้กำหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ขึ้นเพื่อให้ง่ายแก่การจดจำ  เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ตรงกัน  และเพื่อให้รู้ลักษณะเด่นของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์นั้น ๆ ตลอดจนให้ความสำคัญต่อปีศักราช  โดยกำหนดเวลาเป็นพุทธศักราช (พ.ศ.)  จุลศักราช (จ.ศ.)  เป็นต้น
                    สำหรับการกำหนดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จะกำหนดตามลักษณะเด่นของเหตุการณ์  เช่น  เมื่อกล่าวถึงช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่มีตัวหนังสือใช้บันทึกก็กำหนดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เป็น  "สมัยก่อนประวัติศาสตร์"  เมื่อกล่าวถึงช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มมีตัวหนังสือใช้ก็กำหนดเวลาเป็น "สมัยประวัติศาสตร์"  ส่วนการแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยนิยมใช้เกณฑ์การแบ่งตามอาณาจักรหรือราชธานี  หรือแบ่งตามสมัยของราชวงศ์  และแบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์
          2.  การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์ไทย
                    การนับศักราชแบบไทยมีอยู่หลายแบบ  ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้
                              -  พุทธศักราช (พ.ศ.)  พ.ศ. ใช้กันแพร่หลายในประเทศที่ประชาชนนับถือพระพุทธศาสนา  เช่น  ไทย  ลาว  พม่าและกัมพูชา  โดยไทยเริ่มใช้ พ.ศ. มาตั้งแต่สมัยอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและใช้อย่างเป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 6  เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
 ประเทศไทยเริ่มนับ พ.ศ. 1 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี
                              -  มหาศักราช (ม.ศ.)  ม.ศ. เป็นศักราชที่เริ่มใช้ในอินเดียโดยพระเจ้ากนิษกะแห่งราชวงศ์กุษาณะทรงตั้งขึ้น  และต่อมาได้แพร่หลายไปยังดินแดนที่ได้รับอารยธรรมอินเดียมหาศักราชพบมากในจารึกสมัยสุโขทัยและจารึกในดินแดนไทยรุ่นแรก ๆ
 การเทียบมหาศักราชเป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 621
                              -  จุลศักราช (จ.ศ.)  จ.ศ. เป็นศักราชของพม่าสมัยพุกามก่อนแพร่เข้ามาในดินแดนประเทศไทยา  นิยมใช้ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยต่าง ๆ ทั้งสมัยสุโขทัย  อยุธยา  รัตนโกสินทร์ตอนต้น  และล้านนา
 การเทียบจุลศักราชเป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 1181
                              -  รัตนโกสินทร์ (ร.ศ.)  ร.ศ.  เป็นศักราชที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริขั้นใช้ในกลางรัชสมัยของพระองค์  โดยเริ่มนับ ร.ศ. 1  ในปีที่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี คือ พ.ศ. 2325
 การเทียบรัตนโกสินทร์ศกเป็น พ.ศ. ให้บวกด้วย 2324
 นอกจากการนับศักราชที่กล่าวมา  ในบางกรณีบางเหตุการณ์ที่เราไม่ต้องนับเวลาอย่างละเอียดโดยการระบุศักราช  ก็อาจนับเวลาอย่างกว้าง ๆ ได้อีก  เช่น  สหัสวรรษ  หมายถึง  เวลาในรอบ 1,000 ปีศตวรรษ  หมายถึง  เวลาในรอบ 100 ปี  ทศวรรษ  หมายถึง เวลาในรอบ 10 ปี  เป็นต้น
          3.  การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
                    การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยนิยมแบ่งหลายแบบ  ที่ใช้กันในปัจจุบันมักเป็นการผสมระหว่างหลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยของประวัติศาสตร์สากลกับหลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยของประวัติศาสตร์ไทย  โดยในประวัติศาสตร์ไทยมีการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์คล้ายกับประวัติศาสตร์สากล  คือ  แบ่งออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์  และในแต่ละยุคสมัยได้ถูกแบ่งเป็นยุคสมัยย่อย ๆ ลงไปอีกเพื่อให้มีความชัดเจนมากขึ้น  ดังนี้
                    3.1  สมัยก่อนประวัติศาสตร์
                     สมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นสมัยที่ยังไม่ปรากฏหลักฐานลายลักษณ์อักษร  การแบ่งยุคสมัยจึงนิยมแบ่งตามนักโบราณคดี  ซึ่งกำหนดยุคสมัยจึงนิยมแบ่งตามนักโบราณคดี  ซึ่งกำหนดยุคสมัยตามหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์  สมัยก่อนประวัติศาสตร์นิยมแบ่งช่วงเวลาออกเป็นยุคหินกับยุคโลหะ
                               1)  ยุคหิน  แบ่งย่อยออกเป็นยุคต่าง ๆ ดังนี้
                                          1.1  ยุคหินเก่า  มีอายุประมาณ 700,000 ปีมาแล้ว  ดังพบหลักฐานประเภทเครื่องมือหินกรวดกะเทาะหน้าเดียวเพื่อใช้สับ ตัด ขุด  แหล่งที่พบ  เช่น  บ้านแม่ทะ  จังหวัดลำปาง  มนุษย์ยุคนี้เป็นพวกเร่ร่อน  เก็บหาของป่า  ล่าสัตว์  อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ
                                          1.2  ยุคหินกลาง  มีอายุประมาณ 10,000 - 4,300 ปีมาแล้ว  มนุษย์ยุคนี้ทำเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความประณีตขึ้น  สามารถทำภาชนะดินเผาใช้ในชีวิตประจำวันโดยมีทั้งภาชนะแบบผิวเกลี้ยงและมีลวดลายที่เกิดจากการใช้เชือกทาบ  แหล่งที่พบหลักฐานยุคหินกลาง  เช่น  ที่ถ้ำไทรโยค  จังหวัดกาญจนบุรี
                                          1.3  ยุคหินใหม่  มีอายุประมาณ  4,300 ปีมาแล้ว  มนุษย์ยุคนี้รู้จักการตั้งถิ่นฐานทำเกษตรกรรม  เลี้ยงสัตว์  ทำเครื่องมือหินขัดที่มีความคม  มีผิวเรียบ  ทำเครื่องปั้นดินเผาแบบสามขา  เช่น  ที่บ้านเชียง  จังหวัดอุบลราชธานี  บ้านเก่า  จังหวัดกาญจนบุรี
                               2)  ยุคโลหะ  แบ่งออกได้ดังนี้
                                          2.1  ยุคสำริด  มีอายุประมาณ 3,500 ปีมาแล้ว  ดังพบหลักฐานเครื่องมือสำริดที่เป็นอาวุธ  เครื่องประดับ  เครื่องมือเครื่องใช้  กลองสำริด  เครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสี  เช่น  ที่บ้านเชียง  จังหวัดอุดรธานี
                                          2.2  ยุคเหล็ก  มีอายุประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว  ดังพบเครื่องมือเหล็กที่ทนทานและใช้ประโยชน์ได้มากกว่าเครื่องมือสำริด  เช่น  ที่บ้านดอนตาเพชร  จังหวัดกาญจนบุรี  สังคมยุคนี้มีความซับซ้อนมากขึ้น  มีการติดต่อกับต่างถิ่น  มีชนชั้น  ดังจะเห็นได้จากการฝังศพ  ที่บางศพมีข้าวของเครื่องใช้และเครื่องประดับมากมาย  แสดงถึงการเป็นบุคคลสำคัญ
                    3.2  สมัยประวัติศาสตร์
                    สมัยประวัติศาสตร์เป็นสมัยที่ปรากฏหลักฐานลายลักษณ์อักษร  หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในดินแดนไทย  คือ  ศิลาจารึก  ในหลายพื้นที่พบศิลาจารึกที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน  เช่น  ที่ศรีเทพ  จังหวัดเพชรบูรณ์  ที่ซับจำปา  จังหวัดลพบุรี  ส่วนจารึกที่ปรากฏศักราชชัดเจนที่สุด  คือ  จารึกอักษรปัลลวะ  เป็นภาษาสันสกฤตและเขมร  พบที่ปราสาทเขาน้อย  จังหวัดปราจีนบุรี  ระบุมหาศักราช 559 หรือตรงกับ พ.ศ. 1180
                              สำหรับการแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยละเอียดมีดังนี้
                               1)  สมัยอาณาจักรรุ่นแรก ๆ  นับช่วงเวลาก่อนการตั้งอาณาจักรสุโขทัย  เช่น  อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16)  อาณาจักรละโว้ (พุทธศตวรรษที่ 12-18)  หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ  เช่น  ศิลาจารึก   เหรียญจารึก  รัฐโบราณเหล่านี้มีการสร้างสรรค์อารยธรรมภายใน  และมีการรับและแลกเปลี่ยนอารยธรรมจากภายนอก  เช่น  การรับพระพุทธศาสนา  ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู  การติดต่อค้าขายกับพ่อค้าต่างแดน  เป็นต้น
                               2)  สมัยสุโขทัย  ตั้งแต่การสถาปนากรุงสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. 1792  จนสุโขทัยถูกรวมเข้ากับกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2006  สมัยสุโขทัยเป็นช่วงที่มีการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยหลายประการ  เช่น  ตัวหนังสือ  การนับถือพระพุทธศาสนา  การสร้างสรรค์ศิลปะที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง  เช่น  เจดีย์ทรงดอกบัวตูมหรือทรงพุ่มข้าวบิณฑ์  พระพุทธรูปปางลีลา  เป็นต้น
                               3)  สมัยอยุธยา  ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 - 2310  สามารถแบ่งออกเป็นสมัยย่อยได้อีก  โดยแบ่งตามสมัยของราชวงศ์และแบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์
                                          3.1  แบ่งตามราชวงศ์ที่ปกครอง  ได้แก่  ราชวงศ์อู่ทอง (พ.ศ. 1893-1913 และ พ.ศ. 1931-1952)  ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 1913-1931 และ พ.ศ. 1952-2112)  ราชวงศ์สุโขทัย (พ.ศ. 2112-2173)  ราชวงศ์ปราสาททอง (พ.ศ. 2173-2231)  ราชวงศ์บ้านพลูหลวง (พ.ศ. 2231-2310)
                                          3.2  แบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์  ได้แก่
                                                     (1)  สมัยการวางรากฐานและการสร้างความมั่นคง  เริ่มตั้งแต่การตั้งอาณาจักรเป็นสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) ใน พ.ศ. 1893 จนถึงสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)  ในพ.ศ. 1991  เป็นช่วงที่อาณาจักรยังมีขนาดเล็ก  ต่อมาได้ขยายอำนาจไปโจมตีอาณาจักรขอม  ทำให้ราชสำนักอยุธยาได้รับวัฒนธรรมขอมเข้ามา  รวมทั้งการทำการค้ากับต่างชาติ  เช่น  จีน
                                                     (2)  สมัยแห่งความมั่นคงทางการเมืองและเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1991  ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชใน พ.ศ. 2231  เป็นช่วงที่ระบบการปกครองมีระเบียบแบบแผน  มีความมั่นคง  มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติอย่างกว้างขวาง
                                                     (3)  สมัยเสื่อมอำนาจ  ตั้งแต่ พ.ศ. 2231-2310  เป็นสมัยที่มีกบฏภายใน  มีการแย่งชิงอำนาจกันเองหลายครั้ง  ส่งผลให้ราชสำนักอ่อนแอและเสียกรุงใน พ.ศ. 2310
                                                     (4)  สมัยธนบุรี  ตั้งแต่ พ.ศ. 2310-2325  เป็นสมัยของการฟื้นฟูบ้านเมืองหลังเสียกรุงศรีอยุธยา  มีการทำสงครามเกือบตลอดเวลา
                                                     (5)  สมัยรัตนโกสินทร์  ตั้งแต่ พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน  มีการแบ่งเป็นสมัยย่อยโดยยึดตามการเปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและการปกครองร่วมกัน  โดยแบ่งได้ดังนี้
                                                                5.1  สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น  ตั้งแต่ พ.ศ. 2325-2394  อยู่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 3  เป็นช่วงการฟื้นฟูอาณาจักรในทุกด้านต่อจากสมัยธนบุรี
                                                                5.2  สมัยรัตนโกสินทร์ยุคกลางปรับปรุงประเทศ  ตั้งแต่ พ.ศ. อยู่ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4-รัชกาลที่ 7  เป็นช่วงที่มีการติดต่อกับต่างชาติ  มีการปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก  จนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย
                                                                5.3  สมัยประชาธิปไตย  ตั้งแต่ พ.ศ. 2475  จนถึงปัจจุบัน  เป็นช่วงที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตย  มีรัฐธรรมนูญเป็นกฏหมายสูงสุดในการปกครองประเทศประชาชนมีสิทธิเสรีภาพทางการเมือง  บ้านเมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว

Tuesday, 14 February 2012

St. Valentine

The History of Saint Valentine's Day

Valentine's Day started in the time of the Roman Empire. In ancient Rome, February 14th was a holiday to honour Juno. Juno was the Queen of the Roman Gods and Goddesses. The Romans also knew her as the Goddess of women and marriage. The following day, February 15th, began the Feast of Lupercalia.

The lives of young boys and girls were strictly separate. However, one of the customs of the young people was name drawing. On the eve of the festival of Lupercalia the names of Roman girls were written on slips of paper and placed into jars. Each young man would draw a girl's name from the jar and would then be partners for the duration of the festival with the girl whom he chose. Sometimes the pairing of the children lasted an entire year, and often, they would fall in love and would later marry.

Under the rule of Emperor Claudius II Rome was involved in many bloody and unpopular campaigns. Claudius the Cruel was having a difficult time getting soldiers to join his military leagues. He believed that the reason was that roman men did not want to leave their loves or families. As a result, Claudius cancelled all marriages and engagements in Rome. The good Saint Valentine was a priest at Rome in the days of Claudius II. He and Saint Marius aided the Christian martyrs and secretly married couples, and for this kind deed Saint Valentine was apprehended and dragged before the Prefect of Rome, who condemned him to be beaten to death with clubs and to have his head cut off. He suffered martyrdom on the 14th day of February, about the year 270. At that time it was the custom in Rome, a very ancient custom, indeed, to celebrate in the month of February the Lupercalia, feasts in honour of a heathen god. On these occasions, amidst a variety of pagan ceremonies, the names of young women were placed in a box, from which they were drawn by the men as chance directed.

The pastors of the early Christian Church in Rome endeavoured to do away with the pagan element in these feasts by substituting the names of saints for those of maidens. And as the Lupercalia began about the middle of February, the pastors appear to have chosen Saint Valentine's Day for the celebration of this new feaSt. So it seems that the custom of young men choosing maidens for valentines, or saints as patrons for the coming year, arose in this way.

St. Valentine's Story

Let me introduce myself. My name is Valentine. I lived in Rome during the third century. That was long, long ago! At that time, Rome was ruled by an emperor named Claudius. I didn't like Emperor Claudius, and I wasn't the only one! A lot of people shared my feelings.
Claudius wanted to have a big army. He expected men to volunteer to join. Many men just did not want to fight in wars. They did not want to leave their wives and families. As you might have guessed, not many men signed up. This made Claudius furious. So what happened? He had a crazy idea. He thought that if men were not married, they would not mind joining the army. So Claudius decided not to allow any more marriages. Young people thought his new law was cruel. I thought it was preposterous! I certainly wasn't going to support that law!
Did I mention that I was a priest? One of my favourite activities was to marry couples. Even after Emperor Claudius passed his law, I kept on performing marriage ceremonies -- secretly, of course. It was really quite exciting. Imagine a small candlelit room with only the bride and groom and myself. We would whisper the words of the ceremony, listening all the while for the steps of soldiers.
One night, we did hear footsteps. It was scary! Thank goodness the couple I was marrying escaped in time. I was caught. (Not quite as light on my feet as I used to be, I guess.) I was thrown in jail and told that my punishment was death.
I tried to stay cheerful. And do you know what? Wonderful things happened. Many young people came to the jail to visit me. They threw flowers and notes up to my window. They wanted me to know that they, too, believed in love.
One of these young people was the daughter of the prison guard. Her father allowed her to visit me in the cell. Sometimes we would sit and talk for hours. She helped me to keep my spirits up. She agreed that I did the right thing by ignoring the Emperor and going ahead with the secret marriages. On the day I was to die, I left my friend a little note thanking her for her friendship and loyalty. I signed it, "Love from your Valentine."
I believe that note started the custom of exchanging love messages on Valentine's Day. It was written on the day I died, February 14, 269 A.D. Now, every year on this day, people remember. But most importantly, they think about love and friendship. And when they think of Emperor Claudius, they remember how he tried to stand in the way of love, and they laugh -- because they know that love can't be beaten!

Valentine Traditions

Hundreds of years ago in England, many children dressed up as adults on Valentine's Day. They went singing from home to home. One verse they sang was:
Good morning to you, valentine;
Curl your locks as I do mine ---
Two before and three behind.
Good morning to you, valentine.

In Wales wooden love spoons were carved and given as gifts on February 14th. Hearts, keys and keyholes were favourite decorations on the spoons. The decoration meant, "You unlock my heart!"
In the Middle Ages, young men and women drew names from a bowl to see who their valentines would be. They would wear these names on their sleeves for one week. To wear your heart on your sleeve now means that it is easy for other people to know how you are feeling.
In some countries, a young woman may receive a gift of clothing from a young man. If she keeps the gift, it means she will marry him.
Some people used to believe that if a woman saw a robin flying overhead on Valentine's Day, it meant she would marry a sailor. If she saw a sparrow, she would marry a poor man and be very happy. If she saw a goldfinch, she would marry a millionaire.
A love seat is a wide chair. It was first made to seat one woman and her wide dress. Later, the love seat or courting seat had two sections, often in an S-shape. In this way, a couple could sit together -- but not too closely!
Think of five or six names of boys or girls you might marry, As you twist the stem of an apple, recite the names until the stem comes off. You will marry the person whose name you were saying when the stem fell off.
Pick a dandelion that has gone to seed. Take a deep breath and blow the seeds into the wind. Count the seeds that remain on the stem. That is the number of children you will have.
If you cut an apple in half and count how many seeds are inside, you will also know how many children you will have.

Most Educated Countries

“Education is a better safeguard of liberty than a standing army” — (Edward Everret). Education holds a great deal of importance in our lives as it is because of education that man has been able to rule the world and invent beneficial tools for himself. Education turns a society into a civilized one; which recognizes the good and bad deeds. If any country wants to achieve phenomenal progress and prosperity, then the government must focus on educational infrastructure and coax the common masses to get as much education as possible. Sociologically, formal education is the way through which whole of the accumulated culture, beliefs and values are transmitted from one generation to the next one. This phenomenon ensures the persistent advancement of human race with the help of the previous knowledge. If we go into the etymology of this word, then it is brought to our attention that the word education is derived from the Latin word ‘educatio’, which means ‘a breeding’, ‘bringing up’. Before jumping on to the top ten chart, I will love to buy some of your time to get you acquainted with a saying; “Educated people can be easily governed” — (Frederick the great)
education 10 Most Educated Countries

Most Educated Countries


10. Armenia

The literacy rate in Armenia is almost 99.7%. Armenia’s expenditure on education is almost 3% of its GDP, as per the CIA World Factbook. School life expectancy of this country is 12 years for male and 13 years for females. SLE (School life expectancy) is a term used to refer to the total number of years of schooling a child expects to receive.


9.Ukraine

The literacy rate in Ukraine is 99.7% and if we further go down the line then it will come to our learning that the male literacy rate is 99.7% and female literacy rate is around 99.2%, according to the CIA World Factbook. The government of Ukraine consumes around 5.3% of GDP on education. At this point of time, you must be familiar with the term SLE. The SLE of Ukraine is of total 15 years with 14 years for males and 15 years for females.


8.Lithuania

The literacy rate in Lithuania is approximately 99.7%; male 99.6% and females 99.6%. The education expenditure by the government of Lithuania is around 4.7% of GDP. The SLE in this country is total of 16 years with 15 years for males and 17 years for females. The estimated GDP of Lithuania is US $36.31 billion, so you can very well guess that how much the government is spending on education.


7.Belarus

The literacy rate in Belarus is around 99.7%; male 99.8% and female 99.4%. 4.5% of the GDP of this country is injected into education whereas the GDP is US $54.71 billion. SLE is total 15 years — 14 years for males and 15 years for females. To promote the education within the country, barring the higher education, all the other levels are free. Ministry of Education of the Republic of Belarus oversees all the educational matters of the country.


6.Slovenia

Literacy rate in Slovenia is around 99.7%; male 99.7% and female 99.6%. Government is determined to spend almost 5.2% of the GDP to promote the education and make it available to the common person. SLE in Slovenia is about 17 years. This country has got a very decent percentage of 60.5 for the tertiary enrollment.


5.Barbados

The literacy rate is 99.7% in Barbados: male 99.7% and female 99.7%. The government is spending almost 6.7% of its GDP on the promotion of education. The SLE in this country is around 13 years. It is not a matter of choice for the people of Barbados to get schooling as it is compulsory between the ages of 5 and 16. Not only this, but it is made a point that attendance does not fall short.


4.Latvia

The literacy rate in Latvia is 99.8%: male 99.8% and female 99.7%. It invests 5% of its GDP on education. The SLE in Latvia is around 15 years. We can say, in a sense, that focusing on education is the need of the hour for people of Latvia if they want to make headway and development. It is because this country is not blessed with reasonable reserves of natural resources and its main agenda is to accumulate knowledge and intellect within the society to compete the other nations.


3.Estonia

The literacy rate in Estonia is approximately 99.8%: male 99.8% and female 99.8%. The SLE in this country is 16 years and the government has earmarked an amount equal to 4.9% of GDP for the uplift of education in the state. The educational system of Estonia is destined to give their people such an adaptive and conducive ambiance as to make them life-long learner and ever ready to get knowledge.


2.Cuba

The literacy rate in Cuba is near to 99.9%. The Cuban government is focused to achieve educational excellence and is spending around 13.6% of its GDP on education. The SLE in Cuba is 18 years. There is no disparity of caste, race or sex in terms of getting education in Cuba and education is made compulsory for the children and is not a back burner in the list of tasks scheduled by the government.


1.Georgia

The literacy rate in Georgia is 100% which is undoubtedly, a very impressive and outstanding percentage. 3.2% of the total GDP is poured into the education sector and the SLE in Georgia is 13 years. The oldest school is Richmond Academy which was founded in 1788. It was clearly mentioned in the first ever constitution of Georgia that the education will not be compromised against the backdrop of unstable political scenario or any other prevalent issues. It was stated in the constitution that a school will be established in each and every country of the state. The largest private university is Emory.